News from Bangkok Post Website:
The Council for National Security (CNS) is asking academics to write reports on the sufficiency economy to prove to the international community that the theory suits Thailand and the world. CNS spokesman Sansern Kaewkamnerd said the council wants academics to look objectively at the principles of the sufficiency economy, an initiative of His Majesty the King, before presenting recommendations.
''We want to increase both Thai and foreign confidence in the government's economic policy,'' said Col Sansern.
The CNS move is in response to recent articles about Thailand's economic policies in three international publications _ Asian Wall Street Journal, The Economist and Newsweek.
The articles compare the economic policies of the ousted Thaksin Shinawatra administration with those of the interim government. The articles all say the international community had more confidence in so-called Thaksinomics _ Mr Thaksin's economic policies _ than in sufficiency policies.
The writers said Mr Thaksin's approach was more in line with world capitalism and had been proven appropriate for international development, while the sufficiency economy has not yet been accepted by some economists.
Col Sansern said the CNS suspects Mr Thaksin, who has hired an influential US-based lobbyist and public relations firm to promote his international activities, was behind the publication of those articles.
A sufficiency economy does not conflict with the world's capitalist-based economic system, said Col Sansern.
Instead, the two principles complement each other, he said
Cummon!
Now it has become Thaksin V.S. King's Theory
While, CNS urged Thai academics to provide support for sufficiency economy, their argument that those criticism of sufficiency economy from international perspecives were financed by Thaksin is "useless".
This debate on "sufficiency economy" will never yield any insight, unless we stop taking it as "royal theory". When the fact that "who said it" is more important than "its substance", don't expect any valuable debate. It is ended from the start.
Wednesday, January 31, 2007
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
8 comments:
i absoluuuuuutely agree with this
when the aim is already set, according to dr.kasem,"let academic find proof that sufficiency ecomomy is good",
what is the point of joining the debate...
what's the point if academics must have no other different thought????...
it seem like they are getting lost and, also try to take their own idea over others.
my opinion is that sufficiency economy should take its role as "philosophy", not more and not less. not just somebody interpretation and attempt to use it as their own good.
as just one person's voice, it will be more beneficial, if they focus their time on prevalent country's real problem, instead of wasting time day after day like this.
if you hate thaksin, why don't you just leave him alone, and let time prove everything fairly.
สำหรับคิดว่า ศก พอเพียงตอนนี้เปน วาทกรรม ที่มาแรงมาก ไม่ใช่ซิ ต้องบอกว่า แรงโครตเลย
และที่สำคัญคือแนวคิดนี้มักจะอวดอ้าง ไปในทิศทางที่ว่ามันสามารถใช้ได้กับทุกกรณี ทุกหมู่ ทุกผู้ ทุกเหล่า เป็นมหาทฤษฎีแหละว่างั้น
อีกอย่างที่ควรจะมีก็คือประเด็นการถกเถรียงถึงข้อดีและข้อเสียของมันควรจะมี แต่กลับเปนสิ่งที่ไม่มี สิ่งที่มีอยู่คือการอวดอ้างแนวคิดดังกล่าวเอามาใช้ โดยเฉพาะรัฐบาลที่แสนจะพอเพียงชุดนี้
อย่างที่กระต่ายน้อยว่ามาแหละครับ ศก พอเพียงมันเป็นเรื่องของ ใครพูด มากกว่า ตัวแนวคิดมันพูดอะไร ซึ่งตรงนี้แหละถือเป็นกำแพงที่หนามาก แต่เราก็ควรจะทลายตรงนี้ลงนะเพื่อเป็นการเปิดแนวคิดให้หลากหลายขึ้น
ไม่ใช่ เอะอะ ก้อ พอเพียง พอเพียง
พอเพียงกันแบบไม่พอเพียง
ผมคิดว่า ศก พอเพียง ควรเป็นแค่ปรัชญาที่รัฐควรส่งเสริมให้สังคมส่วนรวมนำมาประยุกต์ใช้ แต่ไม่ใช่เอาศก.พอเพียง มาเป็นหัวเรือหลักในการบริหารประเทศ มันไม่รอดหรอก ยิ่งในโลกทุนนิยมโลกาภิวัฒน์ที่เงินทุนไหลเข้าออกได้สะดวกสบายและคนบริโภคข่าวสารและสินค้าบริการได้กว้างขวางขนาดนี้ด้วย นักลงทุนที่ไหนเค้าจะมาพอเพียงกะเรา เอกชนทั้งไทยและต่างชาติเค้าไม่มานั่งสนใจเรื่องพอเพียงหรอก มัน profit-driven อยู่แล้ว พอเพียงควรเป็นส่วนประกอบเฉยๆ เช่น จะทำ project อะไรก็ต้องรอบคอบ อย่า over-invest หรือ over-borrow ก็แค่นั้น ไม่ต้องอะไรมาก หน่วยงานรัฐจะสร้างอะไรก็ทำให้พอดี ไม่ใช่สร้างตึกเว่อๆใหญ่โตเกิน ส่วนผู้บริโภค จะมาบอกให้เขาไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยคงไม่ได้หรอก ลำพังลมปากว่า "พอเพียงๆ" มันไม่ทำให้คนเลิกใช้จ่ายฟุ่มเฟือยหรอก มันต้องให้มี incentive หรือ disincentive ที่ชัดเจนไปเลย ไอ้การรณรงค์นี่ใช้ไม่ได้ผลหรอก มนุษย์มัน react ต่อ incentives เช่น เรื่องเมาไม่ขับเนี่ย รณรงค์ให้ตายก้อไม่ได้ผล ถ้าไม่มีการจับปรับนะ หรือเรื่องลดอุบัติเหตุระหว่างหน้าเทศกาล ต่อให้รณรงค์ยังไงก้อไม่ได้ผลหรอกครับ ต้องมีการลงโทษ มี incentive ให้ขับระมัดระวัง หรือเรือ่งคาดเข็มขัดนิรภัยหรือใส่หมวกกันน็อก ถ้าไม่มีการจับปรับ รณรงค์ให้ตายคนก้อไม่ทำหรอกครับ
สรุปคือ หลักการความมีเหตุผล ความพอดี การมีภูมิคุ้มกัน ของปรัชญาศก.พอเพียงนั้นดี แต่เวลาจะนำมาใช้ประยุกต์ ต้องไม่ใช่แค่การอบรม พูดปากเปล่า คุณต้องสร้าง incentives ให้คนนำไปใช้ ในขณะเดียวกันก็ต้องไม่บอกว่า ศก.พอเพียง คือตรงข้ามกับทุนนิยมโลกาภิวัฒน์ เพราะมันผิดอย่างแรง ศก.พอเพียงจำเป็นต้องอยู่ร่วมกันทุนนิยมโลกาภิวัฒน์ครับ จะมาทำเหมือนปิดประเทศมันไม่ได้ ไม่มีใครต้าน market force ได้หรอก
ชอบหรือไม่ชอบ เราก้อต้องอยู่ในศก.ทุนนิยมโลก ซึ่งสิ่งสำคัญที่สุดที่เราต้องทำ ไม่ใช่การปฏิเสธหรือวิ่งหนีมัน แต่ต้องปรับตัวและสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเรา เพื่อให้เราอยู่ในสภาพแวดล้อมนี้ได้ต่างหาก ซึ่งปรัชญาศก.พอเพียงสามารถนำมาประกอบกับทฤษฏีเสดสาด เพื่อใช้บริหารศก.ประเทศได้
having such a philosophy is good, and it will be good as long as it is not misused as a propaganda.
วันนี้นั่งอ่านไทยรัฐ คอลัมนิสเขียนเรื่องสำนักข่าวฝรั่งนำเอาเศรษฐกิจพอเพียงไปเปรียบเทียบกับทักษิโณมิก ยังไม่ทันจะรู้ว่าสำนักข่าวฝรั่งเค้าว่ายังไงบ้างก็ด่าซะแล้วว่าบังอาจทำลายปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง อ่านแล้วนึกถึงคุณกระต่ายน้อยทันทีเลย
เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ตอนนี้ผมก็กำลังนั่งศึกษาอยู่จะเอามาเขียนวพ. เลยลองไปค้นดูงานทางวิชาการ แทบจะไม่มีใครเขียนวิเคราะห์ประเภทแจกแจงผลได้ ผลเสีย จุดอ่อน จุดแข็งอย่างเป็นเรื่องเป็นราวซักคน มีแต่งานประเภทยกย่องแนวความคิดฯ (หรือผมอาจจะค้นไม่ดีเองก็เป็นได้ ถ้าเป็นไปได้ช่วยแนะนำด้วยครับว่าผมจะหางานประเภทที่ผมว่าได้จากที่ไหน)
ในประเด็นนี้ผมคิดว่าถ้านักเศรษฐศาสตร์ไม่พูดแล้ว ชาวบ้านอย่างผมจะไม่มีทางรู้ได้เลยว่ามันมีผลกระทบในทางลบอย่างไรบ้าง อย่าลืมว่าเราต้องอยู่กะเศรษฐกิจพอเพียงไปอย่างน้อย 10-15 ปี ตามที่แผนพัฒนาฯ10 ว่าเอาไว้
ที่คุณชิโนล่าเม้นเอาไว้ ถ้าไม่เป็นการรบกวนจนเกินไป ช่วยขยายความเพิ่มเติมให้คนที่ไม่มีความรู้ทางเศรษฐศาสตร์อย่างผมได้เข้าใจ จักเป็นพระคุณอย่างสูงครับ
I remember there was no such word "sufficiency economy" publicly known before our 1997 economic clash.
People have been praising such philosophy as a god-given one. Sacred, holy and untouchable. It would guide our "nation" to prosperity. It can replace crony capitalism blah blah blah...
What a joke? The one initiated such thought never, ever, elaborate his idea. Everyone interpretes differently. Can we expect academicians do such proof? what proof? how to proof? what if it cannot be (really) proven?
Congrats to those academicians for such interesting project.
ในระดับมหภาค ผมคิดว่า การดำเนินนโยบายแบบรอบคอบ คือเน้น price stability with moderate economic growth ก็เป็นการบริหารศก.แบบพอเพียงแล้ว คือไม่ต้องเน้นการเติบโตสูงๆ แต่เอาแบบโตพอประมาณแต่มั่นคงดีกว่า รักษาเสถียรภาพไว้
นี่คือสิ่งที่ผมคิดว่าคือการบริหารศก.มหภาคแบบพอเพียง ซึ่งจริงๆมันก็ไม่ใช่เรื่องใหม่อะไร เป็นไปตามการเรียนรู้ของนักเศรษฐศาสตร์จากประสบการณ์ของประเทศต่างๆ ซึ่งพบว่า เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (เช่น การมีอัตราเงินเฟ้อที่ไม่สูง การที่อัตราแลกเปลี่ยนไม่แกว่งตัวผันผวนเกินไป) เป็นสิ่งสำคัญมาก
ส่วนในระดับจุลภาค อันนี้จริงๆ ก็ไม่อยากใช้คำว่า ศก.พอเพียงหรือคุณธรรม แต่อยากใช้คำว่า good business practice มากกว่า คือ รัฐต้องคิดสร้าง incentives ที่จะส่งเสริมให้เอกชนและหน่วยงานของรัฐเองมีการดำเนินงานที่โปร่งใส มีประสิทธิภาพ มีการวางแผนการลงทุน และมีการบริหารงานที่ดี ซึ่งก็ต้องนั่งคิดไปเป็นเรือ่งๆไปว่าจะมี incentives อย่างไรได้บ้าง
อย่างที่แบงก์ชาติเนี่ย พี่คนนึงเคยอยู่แบงก์ชาติ พอเค้าไปอยู่แบงก์พาณิชย์ เค้าบอกว่าเอกชน react to incentives จิงๆ พวกเราในแบงก์ชาติเหมือนอยู่บนหอคอยงาช้าง บางทีสักแต่ว่าออกกฎเกณฑ์ออกมา แต่ไม่มี incentive ให้เอกชน เอกชนก็จะซอกแซกหาช่องทางหลีกเลี่ยงกฎได้ มันต้องให้ incentive/disincentive กะเค้า
สรุปคือ ผมมองว่าการเน้นการเติบโตของศก.แบบมั่นคง และการให้ incentives/disincentives เพื่อส่งเสริม good business practices ของหน่วยงานรัฐและเอกชน คือการนำปรัชญาศก.พอเพียงมาปรับใช้กับนโยบายเศรษฐกิจที่เหมาะสมครับ
แต่เรื่องอื่นๆนอกเหนือจากนี้ ก็คงต้องเปิดกว้างให้มีการแลกเปลี่ยนถกเถียงความคิดกันต่อไป โดยแน่นอนว่าจะต้องไม่ตั้งธงไว้แล้วว่า ปรัชญานี้ดีเลิศนำมาใช้ได้ในทุกสถานการณ์
ฟังคำว่า "พอเพียง" ทุกวันจนใกล้จะไม่สบายอยู่แล้ว
จริงอย่างที่ท่านเจ้าของกระทู้ว่าเอาไว้ครับ ว่าถ้าการ debate ไม่ได้อยู่ที่เนื้อหาสาระของทฤษฎีแล้ว มันไม่มี point ของการ debate มาตั้งแต่ต้น ผมได้ตามอ่านบทความ ที่ถูกพาดพิงว่าพูดถึงเศรษฐกิจพอเพียงในหนัลสือพิมพ์ 2 ใน 3 ฉบับ อ่านแล้วก็ไม่ได้เห็นว่าวิจารณ์อะไรตรงไหน เพียงแต่ตั้งคำถามที่ทางคมช.และรัฐบาลไม่มีคำตอบหรือตอบไม่ได้มากกว่า
Post a Comment